Subject : Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood.
Instructor : Trin Jamtin
Monday, November 16, 2558
Time 08.30 - 11.30 .
STORY OF SUBJECT. (เนื้อหาที่สอน)
- ศิลปะสร้างสรรค์
- การจัดกิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)
ศิลปะสร้างสรรค์ ความหมาย เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กได้แสดงความรู้สึก ความต้องการ ความคิดผ่านผลงาน เช่น การวาด การปั้น การฉีก การปะ การพับ การตัด การประดิษฐ์
ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์-เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
-ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
-บำบัดอารมณ์
-ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
-แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
-ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
-บำบัดอารมณ์
-ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
-แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
พัฒนาการทางศิลปะของ Lowenfeld and Britain
1. ขั้นขีดเขียน ช่วงอายุ 2-4 ปี (ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา)
1. ขั้นขีดเขียน ช่วงอายุ 2-4 ปี (ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา)
2.ขั้นก่อนมีแบบแผน ช่วงอายุ 4-7 ปี (ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง)
3.ขั้นใช้สัญลักษณ์ ช่วงอายุ 7-9 ปี (คล้ายของจริง)
หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
กิจกรรมศิลปะ
การจัดกิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
ควรแบ่งออกเป็น 4 ฐาน 3 ฐานแรกเป็นกิจกรรมศิลปะพื้นฐาน ที่ให้เด็กๆทำทุกวัน เช่น การพับ การตัดปะ การระบายสี
ฐานที่ 4 ควรเป็นกิจกรรมที่ครูคิดขึ้นมาใหม่โดยไม่ซ้ำในแต่ละวันให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้
- กระบวณการสำคัญกว่าผลงาน
- หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
- ชื่นชม
- เตรียมอุปกรณ์
- ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
หลีกเลี่ยงคำถาม ว่า เด็ดกำลังทำอะไร หรือ เดาสิ่งที่เด็กกำลังทำ
**เพราะถ้าเราเดาว่า หนูกำลัลวาด ปลาฉลามใช่มั้ยลูก เด็กก็อาจจะวาดปลาฉลาม ในทันที ทั้งๆที่ตอนแรกเด็กอาจจะไม่ได้วาดปลาฉลามก็ได้
ศิลปะ เน้น การ สาธิตให้เด็กดู
- กิจกรรมสี
- การปั้น
- การตัดปะ
- การพับ
- การประดิษฐ์
การจัดกิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
ควรแบ่งออกเป็น 4 ฐาน 3 ฐานแรกเป็นกิจกรรมศิลปะพื้นฐาน ที่ให้เด็กๆทำทุกวัน เช่น การพับ การตัดปะ การระบายสี
ฐานที่ 4 ควรเป็นกิจกรรมที่ครูคิดขึ้นมาใหม่โดยไม่ซ้ำในแต่ละวันให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้
การสอนในฐานที่ 4 (ในกิจกรรมที่คุณครูคิดขึ้นมาเอง)
ขั้นนำ
- แนะนำอุปกรณ์ว่ามีอะไรบ้าง ได้แก่ สีเทียน รูปตาราง รูปผีเสื้อ กระดาษ
สนทนาและบอกเด็กว่าจะทำอะไร โดยมีเงื่อนไข เช่น ให้เด็กวาดรูปในแต่ละช่องให้ครบโดยที่รูปแต่ละรูปไม่ซ้ำกัน (ในตาราง 9 ช่อง )
วาดรูปลงในตาราง ทั้ง 9 ช่อง (ผลงานนักศึกษา)
วาดภาพที่อยู่ในตาราง 9 ช่องลงในแผ่นภาพใหญ่อีกที ( ผลงานนักศึกษา)
ขั้นสอน-ครูบอกหรือสาธิตวิธีการทำให้เด็กดู
-ให้เด็กลงมือทำด้วยด้วยตนเอง
ขั้นสรุป
-ให้เด็กนำเสนอผลงานพร้อมโชว์ผลงานของเด็ก
กิจกรรม
1.กิจกรรมร้านขนมหวาน เป็นกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน เกี่ยวกับเรื่องความรักและการที่เราอยากจะดูแลใครสักคน เพื่อสื่อถึงการมอบความรักให้กับผู้อื่น
Assessment.
Skills. (ทักษะที่ได้รับ)
- แนะนำอุปกรณ์ว่ามีอะไรบ้าง ได้แก่ สีเทียน รูปตาราง รูปผีเสื้อ กระดาษ
สนทนาและบอกเด็กว่าจะทำอะไร โดยมีเงื่อนไข เช่น ให้เด็กวาดรูปในแต่ละช่องให้ครบโดยที่รูปแต่ละรูปไม่ซ้ำกัน (ในตาราง 9 ช่อง )
ตาราง 9 ช่อง |
ภาพที่คุณครูสุ่มแจกตามเลขที่ |
วาดรูปลงในตาราง ทั้ง 9 ช่อง (ผลงานนักศึกษา)
วาดภาพที่อยู่ในตาราง 9 ช่องลงในแผ่นภาพใหญ่อีกที ( ผลงานนักศึกษา)
ขั้นสอน-ครูบอกหรือสาธิตวิธีการทำให้เด็กดู
-ให้เด็กลงมือทำด้วยด้วยตนเอง
ขั้นสรุป
-ให้เด็กนำเสนอผลงานพร้อมโชว์ผลงานของเด็ก
กิจกรรม
1.กิจกรรมร้านขนมหวาน เป็นกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน เกี่ยวกับเรื่องความรักและการที่เราอยากจะดูแลใครสักคน เพื่อสื่อถึงการมอบความรักให้กับผู้อื่น
Assessment.
Skills. (ทักษะที่ได้รับ)
- การทำงานศิลปะอย่างสร้างสรรค์
Application. ( การนำไปใช้)
- จัดกิจกรรมให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ให้เด็กสามารถลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเองได้และเป็นกิจกรรมที่ไม่ยากจนเกินไป
Classroom Atmosphere. (บรรยากาศในห้องเรียน)
- อากาศเย็นสบายดี สื่อเทคโนโลยีใช้งานได้ดีิ ห้องสะอาด
Technical Education. (เทคนิคการสอน)
- มีการเสริมแรงให้นักศึกษาเป็นระยะ
- มี EYE CONTACT กับนักศึกษา
- พูดด้วยน้ำเสียงหลายโทน เป็นเทคนิคการ เร้าความสนใจของผู้เรียน
Self-Assessment. (ประเมินตนเอง)
- แต่งตัวเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและตอบคำถาม
Friend-Assessment. (ประเมินเพื่อน)
- เพื่อนตั้งใจเรียน และตอบคำถามได้ดี
Teacher-Assessment. (ประเมินอาจารย์)
- อาจารย์ให้เทคนิคในการจัดกิจกรรมได้ดี ทั้งยังมีการยกตัวอย่างกิจกรรมที่เข้าใจง่าย สามารถนำไปใช้ได้ในอนาคต และมีการฝึกให้นักศึกษาเกิดความรู้และคิดด้วยตนเอง หนูเป็นคนที่ไม่ชอบวิชาศิลปะเลย อาจารย์คอยช่วยกระตุ้นให้หนูได้คิด ฝึกใช้จินตนาการมากขึ้น มีทัศนคติที่ดีกับศิลปะมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น